กรรมวิธีการผลิตน้ำตาลเชิงเดี่ยวและไซแลนจากเศษเหลือทะลายปาล์มน้ำมันที่ผ่านการลดลิกนิน
นักวิจัย  
รศ.ดร. วรรณา ชูฤทธิ์
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
 
สถานภาพสิทธิบัตร
คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1301006318 เรื่อง กรรมวิธีการลดลิกนินในเศษเหลือทะลายปาล์มน้ามันด้วยกรดเพอร์แอซีติก
คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1503000326 เรื่อง กรรมวิธีการผลิตน้าตาลเชิงเดี่ยวกลูโคสจากเยื่อเซลลูโลสที่แยกจากเศษเหลือทะลายปาล์มน้ามันที่ผ่านการลดลิกนิน
คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1603000707 เรื่อง กรรมวิธีการแยกเฮมิเซลลูโลสจากเศษเหลือทะลายปาล์มน้ามันด้วยด่างอัลคาไลน์เพอร์ออกไซด์ที่เติมแมกนีเซียมซัลเฟต
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
เศษเหลือทะลายปาล์มน้ำมัน เป็นวัสดุเศษเหลือทางการเกษตรประเภทลิกโนเซลลูโลสจากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม เกิดขึ้นหลังจากแยกผลปาล์มออกจากทะลายปาล์มน้ำมัน ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมหลักทางภาคใต้ของประเทศไทย โดยในแต่ละปีพบว่ามีวัสดุเศษเหลือประเภทนี้ เกิดขึ้นเป็นจ้านวนมาก แต่การนำไปใช้ประโยชน์มีอย่างจำกัด เศษเหลือทะลายปาล์มน้ำมันมีองค์ประกอบหลักทางเคมีประกอบด้วย (1) เฮมิเซลลูโลส (2) เซลลูโลส และ (3) ลิกนิน การวิจัยพบว่าการแยกส่วนองค์ประกอบงานเคมีของลิกโนเซลลูโลสสามารถได้สารที่เป็นวัตถุดิบเริ่มต้นของอุตสาหกรรมหลายประเภท
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
กรรมวิธีการทางเคมีและชีวภาพช่วยแยกองค์ประกอบของลิกโนเซลลูโลส และนำสารที่แยกได้มาใช้เป็นสารตั้งต้นในอุตสาหกรรมหลายประเภท
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ได้ต้นแบบในระดับห้องปฏิบัติการ
เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
สนใจสอบถามข้อมูล
รศ.ดร. วรรณา ชูฤทธิ์
โทรศัพท์มือถือ 075672355
Email cwanna35@gmail.com
ส้านักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร

คุณต้องการขอรับถ่ายทอดเทคโนโลยี "กรรมวิธีการผลิตน้ำตาลเชิงเดี่ยวและไซแลนจากเศษเหลือทะลายปาล์มน้ำมันที่ผ่านการลดลิกนิน"