![]() |
||||||||
นักวิจัย
ผศ.ดร.เสาวคนธ์ เหมวงษ์
คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม |
||||||||
สถานภาพสิทธิบัตร
คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 2203000438 ยื่นคำขอวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2565
|
||||||||
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
สารละลายถ่านไบโอชาร์จากใบลิ้นจี่ มีวัตถุประสงค์คือใช้กำจัดเพลี้ยอ่อนในผัก มีส่วนประกอบคือ ถ่านใบลิ้นจี่ และขี้เถ้าใบลิ้นจี่ โดยถ่านใบลิ้นจี่และขี้เถ้าใบลิ้นจี่ได้จากการเผาใบลิ้นจี่ด้วยวิธีการแยกสลายด้วยความร้อนหรือกระบวนการไพโรไลซิสเพื่อให้เป็นไบโอชาร์ เพื่อใช้ประโยซน์ในด้านการเกษตร และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ได้
|
||||||||
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
ละลายที่ใช้ในการกำจัดเพลี้ยอ่อน ที่มีค่า pH สูง ทำให้มีผลการป้องกันกำจัดเพลี้ยอ่อนต่อแมลงศัตรูพืช ประเภท ถั่วพุ่ม ถั่วฝักยาว หรือพวกผักกินใบ เสริมสร้างการเจริญเติบโต และเพิ่มความแข็งแรงให้พืชได้
|
||||||||
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้ร่วมวิจัยพัฒนา
|
||||||||
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับ pilot scale ได้ถูกทดสอบในสภาวะทำงานจริง
|
||||||||
![]() |
||||||||
เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
|
||||||||
สนใจสอบถามข้อมูล
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยนครพนม | |
|||||||
|