![]() |
||||||||
นักวิจัย
ผศ.ดร.เอนก หาลี
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร |
||||||||
สถานภาพสิทธิบัตร
คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 2403002006 ยื่นคำขอวันที่ 2 กรกฎาคม 2567
|
||||||||
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
ขนุนหรือ jack fruit เป็นผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้รับความสนใจและถูกนำมาใช้ทดแทนเนื้อสัตว์ โดยเนื้อขนุนมีคุณค่าทางโภชนาการสูง ให้พลังงานต่ำจัดเป็นแหล่งไฟเบอร์ที่สำคัญ พบว่าขนุนอ่อน 100กรัม มีไฟเบอร์สูงถึง 6.7 กรัม มีปริมาณน้ำตาลและคาร์โบไฮเดรตต่ำ โดยขนุน 100 กรัม มีน้ำตาลน้อยกว่า 1 กรัม และมีคาร์โบไฮเดรตเพียง 1.7 กรัมเท่านั้น จึงเหมาะสำหรับผู้บริโภคกลุ่ม low-carbdiet อีกทั้งยังอุดมไปด้วยวิตามินซี แร่ธาตุทั้งโพแทสเซียม แคลเซียม และธาตุเหล็ก ดังนั้นการสกัดใยอาหารจากขนุนและการนําไปประยุกต์ใช้ ในผลิตภัณฑ์อาหารพลังงานต่ำ จึงเป็นทางเลือกในการเพิ่มคุณค่าและดึงประโยชน์จากขนุนอ่อนที่ตกเกรดได้เป็นอย่างดี
|
||||||||
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
เทคโนโลยีการสกัดโดยใช้เอนไซม์ และมีการใช้สารให้ความแทนน้ำตัวจึงให้พลังงานต่ำ และมีการเสริมวิตามินและแร่ธาตุที่จำเป็นต่อผู้บริโภคเฉพาะกลุ่ม ใช้ในวัตถุดิบจากธรรมชาติมาผ่านกระบวนการและเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้เทคโนโลยีที่เลียนแบบได้ค่อนข้างยาก นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์กลุ่มนี้กำลังเป็นที่นิยมในผู้บริโภค
|
||||||||
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
|
||||||||
สถานภาพของผลงานวิจัย
ได้ต้นแบบระดับ pilot scale
|
||||||||
![]() ![]() ![]() ![]() |
||||||||
เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
|
||||||||
สนใจสอบถามข้อมูล
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร | |
|||||||
|