![]() |
||||||||
นักวิจัย
อาจารย์เทอดเกียรติ แก้วพวง
อาจารย์ว่าที่ร้อยตรีวุฒิชัย สายบุญจวง อาจารย์เบญฐนาศิวรัตน์ ไกรทิพย์ อาจารย์ ดร.วุฒิชัย รสชาติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดรัสวิน วงศ์ปรเมษฐ์ ศาสตราจารย์ ดร.วินิช พรมอารักษ์ |
||||||||
สถานภาพสิทธิบัตร
คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 2103000758 ยื่นคำขอวันที่ 12 มีนาคม 2564
|
||||||||
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
การผลิตน้ำสัมควันไม้ในปัจจุบันสามารถเก็บได้โดยอาศัยการถ่ายเทความร้อนจากปล่องดักควันที่มีอุณภูมิสูง สู่ปล่องดักควันที่อุณหภูมต่ำ เกิดการควบแน่นเป็นหยดน้ำส้มควันไม้ แต่ยังไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ทันที เนื่องจากมีน้ำมันดิน (Tar) และสารระเหยได้ (Volatile) ซึ่งเป็นอันตรายต่อพืชและสิ่งมีชีวิตเกษตรกรต้องใช้วิธีทิ้งให้ตกตะกอนประมาณ 90 วัน จึงลดการปนเปื้อนน้ำมันดิน
|
||||||||
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
สารแยกสารน้ำมันดินออกจำน้ำส้มควันไม้ที่อุณหภูมิต่ำ ลดการสูญเสียสารสำคัญจากการใช้ความร้อนสูง ลดระยะเวลาการทำให้บริสุทธิ์ และลดการใช้พลังงาน ได้น้ำส้มควันไม้ที่มีความบริสุทธิ์สูง
|
||||||||
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้ร่วมวิจัยพัฒนา
|
||||||||
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับ pilot scale ได้ถูกทดสอบในสภาวะทำงานจริง
|
||||||||
![]() ![]() ![]() |
||||||||
เงื่อนไข
เทคโนโลยีราคาเดียว
|
||||||||
สนใจสอบถามข้อมูล
สถาบันวิจัยและพัฒนา มรภ.วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ | |
|||||||
|