![]() |
||||||
นักวิจัย
ผศ.ดร.สาคร ชลสาคร
ดร.ชนากานต์ เรืองณรงค์ ดร.รัฐ ชมภูพาน คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
||||||
สถานภาพสิทธิบัตร
อยู่ระหว่างยื่นคำขอ
|
||||||
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
ไผ่ ถือเป็นพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย บริษัท พิมธา จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทที่รับซื้อไผ่ในท้องถิ่น จำนวนหลายล้านบาทต่อปี และเป็นโรงงานผลิตวัสดุแปรรูปจากไม้ไผ่ เช่น พื้นปาเก้ ผนัง หลังคา เฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้าน ดำเนินธุรกิจมากว่า 10 ปี ส่วนใหญ่ผลิตให้โรงแรม 5 ดาว โครงการ และนักออกแบบที่ต้องการไม้ไผ่ รายได้ต่อปี 10-15 ล้านบาท คนงานจำนวน 40-50 คน บนพื้นที่ 10-15 ไร่ ต.โนนห้อม อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี ทำให้มีขยะผงไผ่จำนวนมากซึ่งเป็นขยะเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากไผ่
งานวิจัยนี้ใช้วัสดุผสมจากเส้นใยไผ่เหลือทิ้งกับเส้นใยฝ้าย ขึ้นรูปเป็นผ้าผืน แล้วนำมาออกแบบและผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่โดดเด่น พร้อมทั้งต่อยอดสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติพิเศษ (Functional Textile) ทางการแพทย์ สามารถเพิ่มมูลค่าและลดปริมาณของเสียในชุมชนรวมไปถึงเป็นการต่อยอดและสร้างมูลค่าด้วยนวัตกรรมเส้นใยไผ่ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ให้แก่เกษตรการและผู้ประกอบการรายใหม่ต่อไป |
||||||
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
งานวิจัยนี้ใช้วัสดุผสมจากเส้นใยไผ่เหลือทิ้งกับเส้นใยฝ้าย ขึ้นรูปเป็นผ้าผืน แล้วนำมาออกแบบและผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่โดดเด่น พร้อมทั้งต่อยอดสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติพิเศษ (Functional Textile) ทางการแพทย์ สามารถเพิ่มมูลค่าและลดปริมาณของเสียในชุมชนรวมไปถึงเป็นการต่อยอดและสร้างมูลค่าด้วยนวัตกรรมเส้นใยไผ่ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ให้แก่เกษตรการและผู้ประกอบการรายใหม่ต่อไป
|
||||||
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
|
||||||
สถานภาพของผลงานวิจัย
ได้ต้นแบบระดับ pilot scale
|
||||||
![]() |
||||||
เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
|
||||||
สนใจสอบถามข้อมูล
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | |
|||||
|