![]() |
||||||||
นักวิจัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรอนงค์ พวงชมภู
คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน |
||||||||
สถานภาพสิทธิบัตร
คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 2001005675 ยื่นคำขอวันที่ 15 กันยายน 2563
|
||||||||
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
ซีลีเนียมยีสต์ เป็นผลิตภัณฑ์เสริมในอาหารสัตว์ซีลีเนียมในร่างกายสัตว์โดยส่วนใหญ่ที่พบมี 2 รูปแบบ คือ ซีลีเนียม ในรูปแบบซีลีโนแมทไธโอนีน และซีลีโนซิสเตอีน ซึ่งซีลีเนียมที่อยู่ในรูปสารประกอบอินทรีย์นี้สามารถดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้ง่าย ดังนั้นซีลีเนียมยีสต์ที่มาจากเซลล์ยีสต์ที่ถูกเพาะเลี้ยงในอาหารที่มีธาตุซีลีเนียมร่วมกับกรดอะมิโนเมทไธโอนีน โดยมีกระบวนการเมทธาโบลิซึมให้ปริมาณของซีลีโนเมทไธโอนีนที่เกิดขึ้นตามธรรมชาตในปริมาณสูงน้ำหมักซีลีเนียม สูตรนี้ที่ใช้กรดอะมิโนเมทไธโอนีนเป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์ซีลีโนเมทไธโอนีนในเซลล์ยีสต์ สามารถใช้เป็นผลิตภัณฑ์ผสมในอาหารเสริมสำหรับสัตว์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านการสืบพันธ์ุสำหรับสัตว์ได้ ซีลีโนเมทไธโอนีนนี้ถือเป็นกลุ่มหลักของซีลีโนโปรตีนของเซลล์ยีสต์ แต่จะมีความแตกต่างของปริมาณตามสภาพการเพาะเลี้ยง
|
||||||||
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
น้ำหมักซีลีโนเมทไธโอนีน เป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผสมติดในสัตว์เคี้ยวเอื้อง
|
||||||||
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
|
||||||||
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
|
||||||||
![]() |
||||||||
เงื่อนไข
เทคโนโลยีราคาเดียว
|
||||||||
สนใจสอบถามข้อมูล
สถาบันบริการวิชาการแห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน | |
|||||||
|