![]() |
||||||||
นักวิจัย
นายมโนรมย์ เชี่ยวพานิช
นายพัฒนศักดิ์ เกษร นางสาวอรษา ยิ้มพิรัตน์ และทีมงาน บริษัท ปทุมอินสตรูเม็นท์ |
||||||||
สถานภาพสิทธิบัตร
อยู่ระหว่างยื่นคำขอ
|
||||||||
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
สถานะการณ์ของ Covid-19 จากที่แพทย์ต้องใกล้ชิดผู้ป่วยในการตรวจวินิจัย จากการฟังเสียงปอดและหัวใจ ซึ่งขณะที่แพทย์อยู่ในชุดป้องกัน PPE ระดับ 4 จะทำตรวจไม่ได้เลย ซึ่งจำเป็นต้อง ถอดอุปกรณ์ป้องกันส่วนคลุมหัวและหูออก และก็ต้องใช้มือ “สวม-ถอดหูฟังจากหูตัวเอง ซึ่งมือมีโอกาสใกล้ชิดกับใบหน้า แก้ม ใบหู ทำให้เกิดความเสี่ยงที่แพทย์อาจจะติดเชื้อโรคเอง และยังต้องอยู่ใกล้ผู้ป่วย จากที่ Stethoscope มี chest piece และ ear piece ยาวห่างกันไม่เกิน1เมตร ซึ่งขณะฟังเสียงปอดผู้ป่วย ไอ หรือ จาม ออกมา อีก ซึ่งทำให้เห็นความกล้าหาญของคณะแพทย์อย่างแท้จริงที่เอาชีวิตตัวเองมาเสี่ยงกัยการต่อสู้กับ Covid-19
ทำให้เกิดแนวคิดของการพัฒนา V-Steth เพื่อช่วยการแพทย์ในการต่อสู้กับ Covid-19 ในการลดความเสี่ยงจากการที่จะมีโอกาสติดเชื้อโรคร้ายนี้จากที่ต้องใกล้ชิดกับผู้ป่วย ซึ่งเชื่อว่า จะเป็นขวัญกำลังใจ และเพิ่มความเชื่อมันในการต่อสู้กับ Covid-19 |
||||||||
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
1.ไม่เคยมีใครทำให้ได้ยินเสียงหัวใจจากโดยไม่ต้องใช้หูฟังมาก่อน
2. สามารถเลือกฟังเสียงจากทั้ง Analog และ Digital 3. ใช้เทคนิค Wavelet ช่วยแพทย์ในการวินิจฉัยสภาพพยาธิของปอดจากการสร้างเสียงของปอด |
||||||||
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้ร่วมวิจัยพัฒนา
|
||||||||
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
|
||||||||
![]() |
||||||||
เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
|
||||||||
สนใจสอบถามข้อมูล
บริษัท ปทุมอินสตรูเม็นท์ | |
|||||||
|